+ ศูนย์โรคหัวใจสัตว์เลี้ยง 

ให้บริการวินิจฉัยโรคหัวใจในสุนัขและแมว โดยทีมสัตวแพทย์ จะทำการซักประวัติการเลี้ยงดูเบื้องต้น ดูจากพันธุ์สัตว์ที่มีแนวโน้มจะเป็นโรคหัวใจ จากนั้นจะตรวจร่างกายโดย สังเกตการหายใจ  ดูสีเยื่อเมือกบริเวณเหงือก  ฟังเสียงปอด เสียงหัวใจ และคลำบริเวณช่องอกช่องท้อง เพื่อจับชีพจร เมื่อสัตวแพทย์ซักประวัติ และตรวจร่างกายเบื้องต้นแล้ว พบว่าสัตว์เลี้ยงเลี้ยงของท่าน มีแนวโน้มที่จะเป็นโรคหัวใจ สัตวแพทย์จะทำการตรวจวินิจฉัยเพิ่ม ด้วยวิธี

  • ถ่ายภาพเอกซเรย์ช่องอก (X-ray)
  • ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG)
  • ตรวจอัลตราซาวน์หัวใจ (Echocardiogram)
  • ตรวจวัดความดันโลหิต
  • ตรวจเลือด ตามลำดับขั้นตอนการรักษา
ถ่ายภาพเอกซเรย์ช่องอก (X-ray)
image
ตรวจอัลตราซาวน์หัวใจ (Echocardiogram)

ทีมสัตวแพทย์ประจำ ศูนย์โรคหัวใจสัตว์เลี้ยง

ศูนย์โรคหัวใจสัตว์เลี้ยง
นัดหมายแพทย์เฉพาะทาง

ความรู้สัตว์เลี้ยง

น้องเป็นโรคลิ้นหัวใจเสื่อม เป็นในระยะ ที่หัวใจมีการเปลี่ยนรูป แต่น้องอาการยังดี คุณหมอจึงให้ยาบำรุงหัวใจน้องกลับไปทานอย่างต่อเนื่องและติดตามอาการอีกทีค่ะ

ลูกสุนัขที่มีความผิดปกติของหัวใจมาแต่กําเนิด อาจแสดงอาการป่วยคล้ายกับลูกสุนัขที่มีการติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจ คืออาจมีอาการ หอบ หายใจลําบาก ไอ เนื่องจากมีภาวะน้ําท่วมปอดเกิดขึ้น

บริการวินิจฉัยอาการผิดปกติหัวใจ และให้การรักษาสัตว์ป่วยโรคหัวใจ ที่มีความซับซ้อน โดยทีมสัตวแพทย์

โรคหัวใจที่พบในแมว : มักพบปัญหา "กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ" ซึ่งเป็นโรคที่พบได้มากที่สุดในระบบหัวใจและหลอดเลือดในแมว กล้ามเนื้อหัวใจมีความผิดปกติ

ให้บริการวินิจฉัยโรคหัวใจในสุนัขและแมว โดยทีมสัตวแพทย์ จะทำการซักประวัติการเลี้ยงดูเบื้องต้น ดูจากพันธุ์สัตว์ที่มีแนวโน้มจะเป็นโรคหัวใจ

เจ้าของสัตว์เลี้ยงหลายๆคนอาจมีความเข้าใจว่าการที่ สุนัขหรือแมวอ้วนดูมีสุขภาพดี และมีความสุข โดยที่ไม่ทราบถึงความเสี่ยงของการเกิดโรคต่าง ๆ ที่จะตามมาถ้าสัตว์เลี้ยงของ ท่านมีภาวะอ้วน เช่นเดียวกับในมนุษย์

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้